|
|
|
สภาพสังคมเป็นชนบท มีชีวิตความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย
สถาบันครอบครัวอยู่รวมกันเป็นครอบครัวใหญ่ และให้ความสำคัญกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ประชาชนส่วนใหญ่ยึดมั่นในขนบธรรมเนียม
ประเพณีและวัฒนธรรมของภาคเหนือ |
|
|
|
|
|
ประชาชนส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลตำบลทุ่งโฮ้ง นับถือศาสนาพุทธ โดยมีศาสนสถานที่สำคัญ ดังนี้ |
วัด จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ |

 |
วัดทุ่งโห้งใต้ |
ตั้งอยู่ |
หมู่ที่ 5 |

 |
วัดทุ่งโห้งเหนือ |
ตั้งอยู่ |
หมู่ที่ 5 |
สำนักสงฆ์ จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ |

 |
สำนักสงฆ์ดอยปัง |
ตั้งอยู่ |
หมู่ที่ 4 |
|
|
|
|
|
สถานศึกษา ในเขตเทศบาลตำบลทุ่งโฮ้ง มีดังนี้ |

 |
โรงเรียนบ้านทุ่งโฮ้งเหนือ (อภิวังวิทยาลัย)
ตั้งอยู่ หมู่ที่ 6 ตำบลทุ่งโฮ้ง เป็นโรงเรียนระดับ
มัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาระดับประถมศึกษาแพร่ เขต 1 |

 |
โรงเรียนอนุบาลภรณ์กมล ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 5 เป็นโรงเรียนในระดับอนุบาลของเอกชน |
|
|

 |
โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลทุ่งโฮ้ง ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 5 เป็นโรงเรียนอนุบาลของเทศบาล |

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 1 แห่ง ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 5 ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งโฮ้ง |

 |
ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนตำบลทุ่งโฮ้ง (กศน.ตำบลทุ่งโฮ้ง) 1 แห่ง ตั้งอยู่ที่เทศบาลตำบลทุ่งโฮ้ง |
|
|
|
|
จำนวนสถานบริการสาธารณสุขในเขต
เทศบาลตำบลทุ่งโฮ้ง ประกอบด้วย |

 |
คลินิก |
จำนวน |
2 |
แห่ง |

 |
ร้านขายยา |
จำนวน |
4 |
ร้าน |

 |
โรงพยาบาลศูนย์สุขภาพชุมชนตำบล |
|
|
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
|
มาตรฐานคุณภาพชีวิตของประชาชนในเขตเทศบาลอยู่ในเกณฑ์ดี คือ |

 |
ได้รับการบริการด้านสาธารณสุขขั้นมูลฐานพอสมควร |

 |
มีส้วมใช้ทุกครัวเรือน |

 |
มีน้ำสะอาดสำหรับการอุปโภคอย่างเพียงพอ |

 |
มีการจัดการด้านขยะมูลฝอยอย่างเป็นระบบ |
|
|
|
|
เทศบาลตำบลทุ่งโฮ้ง ให้ความสำคัญต่อความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนโดย |

 |
มีการติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะ ในจุดที่ประชาชนสัญจร
ไป - มา เพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุ |

 |
จัดทำโครงการก่อสร้างและปรับปรุงถนน
ในเขตเทศบาลให้มีสภาพที่ดี |
|
|

 |
หน่วยบริการประชาชน |
จำนวน |
1 |
แห่ง |

 |
ศูนย์ อปพร. |
จำนวน |
1 |
แห่ง |

 |
สมาชิก อปพร. เทศบาลตำบลทุ่งโฮ้ง |
จำนวน |
83 |
แห่ง |
|
|
ขนบธรรมเนียม ประเพณี
และวัฒนธรรม |
|
|
 |
|
|
ประชากรส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลจะยึดถือ
ตามประเพณีดั้งเดิมเกี่ยวกับวิถีชีวิตของคนไทย เช่น ประเพณีการแต่งงาน ประเพณีการบวชนาค (ชาวแพร่นิยมเรียก "ปอย") ประเพณีการจัดงานศพ ฯลฯ และแตกต่างจากประเพณีชาวไทยในภาคอื่นๆ อย่างเห็นได้ชัด เช่น ประเพณีบูชาท้าวทั้งสี่ ประเพณีเอาขวัญ (เรียกขวัญหรือบายศรีสู่ขวัญ) ประเพณีส่งเคราะห์ ประเพณีส่งแถน ประเพณีสืบชะตา |
|
|
ส่วนประเพณีที่เกี่ยวกับศาสนา เช่น ประเพณีแห่ครัวตานเข้าวัด ประเพณีตานก๋วยสลาก ประเพณีเทศน์มหาชาติ ซึ่งพิธีกรรมก็ไม่แตกต่างจากจังหวัดอื่นๆ ในภาคเหนือมากนัก ส่วนงานประเพณีที่เกี่ยวกับเทศกาล เช่น งานเทศกาลสงกรานต์รดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ งานประเพณีแห่เทียนพรรษา งานประเพณีลอยกระทง นอกจากนี้ ยังมีงานประเพณี "กำฟ้า" ซึ่งเป็นประเพณีสำคัญของชาวไทยพวนบ้านทุ่งโฮ้ง เทศบาลตำบลทุ่งโฮ้ง ดำเนินการจัดงานประเพณี "กำฟ้า" ในวัน ขึ้น 3 ค่ำ เดือน 3 (เดือน 5 เหนือ) ประมาณเดือน มกราคม - กุมภาพันธ์ของทุกปี |

 |
ศิลปะ ศิลปะรูปแบบของชาวล้านนาภาคเหนือทั่วไป เช่น ด้านดนตรี ดนตรีพื้นบ้านจะประกอบด้วย สะล้อ ซอ ซึง ส่วนศิลปะการฟ้อนรำ มีการฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียน ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีศิลปหัตถกรรม เช่น การตัดเย็บเสื้อผ้าหม้อห้อม เครื่องปั้นดินเผา เป็นต้น |

 |
วัฒนธรรม ในด้านวัฒนธรรมการกินอยู่ ประชาชนส่วนใหญ่จะบริโภคข้าวเหนียวเป็นอาหารหลักรับประทานอาหารเมืองพื้นเมือง วัฒนธรรมการแต่งกาย ผ้าพื้นเมืองที่มีชื่อของชาวแพร่ คือ ผ้าหม้อห้อม และวัฒนธรรมการซอ การจ๊อย การเล่าค่าว |

 |
ภาษา ชาวทุ่งโฮ้ง ส่วนใหญ่มีเชื้อสายไทยพวน มีภาษาพูดที่มีเอกลักษณ์ของชาวไทยพวน บ้านทุ่งโฮ้ง เช่น แจ่ว (น้ำพริก) มะเด่น (มะเขือเทศ) ไปเกอ (ไปที่ไหน) บ่วง (ช้อน) เอ็ดหัง (ทำอะไร) เป็นต้น |
|
|
 |
|
    
     |
|
เทศบาลตำบลทุ่งโฮ้ง |
|
ยินดีให้บริการประชาชน |
|
|
|